“หุ้นใหม่”เน่า ๆ Ep.2

หุ้นชิน

ตลาดหลักทรัพย์เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2537 แชทเทิลไลท์ เปิดให้นักลงทุนจองซื้อในราคาหุ้นละ 39 บาท แต่เมื่อเข้าซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์วันแรก ราคาพุ่งขึ้นไปปิดที่ 187 บาท สูงกว่าจอง 148 บาท หรือสูงกว่าจอง 379% แต่หุ้นจองที่ครองแชมป์ขวัญใจมหาชน เพราะบรรยากาศการเปิดจองคึกคักสุดขีด

เนื่องจากนักลงทุนแห่มาจองอย่างนหลามคือ บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำกัด ซึ่งเข้าตลาดหลักทรัพย์วันที่ 6 มกราคม 2638 เพื่อรับใบจองหุ้น จนศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์แคบไปกับการจราจรแทบเป็นอัมพาต แต่หุ้นจองบริษัท ผลิตไฟฟ้า จำกัดดี ทำให้ผิดหวัง เพราะเมื่อเข้าซื้อขายวันแรก ปิดที่ 60 บาท สูงกว่าราคาจอง 38 บาท หรือสูงกว่าจอง 172 %

โดยเคาะสนั่นซื้อขายสนั่นวันแรก 4005 ล้านบาท มนต์เลนท์ของหุ้นอองตำนินมาอย่างต่อเนื่องหลาย

ก่อนจะเข้าสู่ยคสื่อมสลาย โดยบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) เบินชนวนเริ่มต้นที่ทำให้ “วงแตก” บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) นำหุ้นจำนวน 385 ล้านหุ้น และกระทรวงการคลังนำหุ้นที่ถือไว้อีก 57.75 ล้านหุ้นกระจายสู่ประชาชนประมาณกลางปี 25365 ในราคาหุ้นละ 60 บาท

โดยถือเป็นหุ้นรัฐวิสาหกิจขนาดยักษ์ที่ปลุกคนทั้งประเทศตื่นตัวจองซื้อ จนปริมาณความต้องการจองล้น และต้องจัดโควตา ให้จองซื้อเฉลี่ยคนละ 200 หุ้น แต่หุ้นการบินไทย ไม่ได้ทำให้คนจองสมหวังมากนัก

เพราะประเดิมซื้อขายวันแรกเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2635 ราคาหุ้นไม่ร้อนแรงตามความคาดหมาย โดย

ปิดที่ 63 บาท สูงกว่าจองเพียง 3 บาท และราคาที่สูงกว่าจอง เกิดจากกระแสเก็งกำไรของนักลงทุนในประเทศมากกว่า พอวันที่สอง ราคาหุ้นการบินไทยเริ่มทรุด โดยปิดตลาดที่ 61 บาท และเข้าซื้อขายวันที่สาม หุ้นการบินไทยก็ดิ่งเหว

โดยปรับตัวลงรูด 5.50 บาท ปิดที่ 55.50 บาท หลังจากนั้นก็ทรุดต่อเนื่อง นักลงทุนที่จองซื้อหุ้นการบินไทย ขาดทุนกันถ้วนหน้าและแม้จะถือกันยาวนับา0ปี แต่หุ้นการบินไทยก็ไม่ยอมโผล่หัวยืน เหนือ 60 บาท หลังจากหุ้นการบินไทย “ทำเจ็บ” บรรยากาศ

#หุ้น #เล่นหุ้น #ลงทุน #ตลาดหุ้น #SET #ทางเข้าจีคลับ

Table of Contents